ตัวอย่างของเทคนิคการหล่อปูนเคลือบปูนปลาสเตอร์ กับงานต้นแบบ เพื่อทำแม่พิมพ์หล่อซิลิโคน จากงานปั้นรูปคน
Mold Article Integrated content and knowledge about mold industry.
ขั้นตอนการทำแม่พิมพ์ปูนปลาสเตอร์ 2 ด้าน สำหรับหล่อซิลิโคน | 2 Piece Hydrocal Plaster Mold For Silicone Casting
Posted by Ok-Workshop
Posted on 19:37
สาธิตการใช้แม่พิมพ์ Vacuum Forming เพื่อขึ้นรูปชิ้นงานจากแผ่นวัสดุ ABS plastic
Posted by Ok-Workshop
Posted on 12:16
สาธิตการขึ้นรูปชิ้นงานพลาสติกให้เป็นหมวกคาวบอยด้วยแม่พิมพ์ Vacuum Forming
Posted by Ok-Workshop
Posted on 11:38
กรรมวิธีที่ใช้แม่พิมพ์ในงานปั๊ม (Stamping Process) | แม่พิมพ์ปั๊มโลหะแผ่น
Posted by Ok-Workshop
Posted on 05:53
กรรมวิธีที่ใช้ในงานปั๊มขึ้นรูปโลหะแผ่นมีหลายกรรมวิธี แต่แบ่งได้เป็น 3 กรรมวิธีพื้นฐานหลัก คือ 1. การตัดเฉือน (shearing) ซึ่งแบ่งเป็นการปั๊มเจาะ (blaking) และการตัดเจาะรู (piercing) 2. การตัด (bending) หรือการขึ้นรูป (forming) และ 3. การลากขึ้นรูป (drawing) นอกจากนี้ยังมีกรรมวิธีดังเดิมอื่นๆ เช่น การปั๊มนูน (embossing) การปั๊มจม (coining) การบีบอัด (swaging) การฝานขอบ (shaving) และการตัดขอบ(trimming) การผลิตชิ้นงานโลหะแผ่นจะต้องใช้หลายกรรมวิธีที่กล่าวมาแต่ไม่จำเป็นต้องใช้กรรมวิธีทั้งหมด กรรรมวิธีที่กล่าวทั้งหทดมีลักษณะการทำงานดังนี้
1. Blanking เป็นขั้นตอนแรกที่จะต้องทำในการผลิต โดยจะเป็นการตัดแผ่นโลหะด้วยพั้นซ์และดายให้ได้รูปร่างตามที่ต้องการ แผ่นโลหะที่ตัดออกมานี้จะนำไปผ่านกรรมวิธีอื่นเพื่อผลิตเป็นชิ้นงานต่อไป
2. Piercing โดยทั่วไปเป็นขั้นตอนที่ต่อจาก blanking โดยจะตัดแผ่นโลหะให้เป็นรูตามตำแหน่งที่ต้องการบางครั้ง blanking และ piercing สามารถทำพร้อมกันได้ในขั้นตอนเดียว ข้อแตกต่างระหว่าง blanking และ piercing จะใช้แผ่นโลหะที่ตัดออกมาด้วยพั้นซ์และดายเป็นชิ้นงาน ส่วน piercing จะใช้แผ่นโลหะที่ถูกตัดเป็นรูเป็นชิ้นงาน
3. Bending เป็นการตัดพื้นผิวระนาบของโลหะทำมุมกันตั้งแต่หนึ่งมุมขึ้นไปโดยความหนาของแผ่นโลหะไม่เปลี่ยนแปลงและรัศมีการดัดจะต้องมากกว่าหรือเท่ากับความหนาของแผ่นโลหะ
4. Drawing เป็นการสาลขึ้นรูปโลหะแผ่นด้วยพั้นซ์เข้าไปในโพรงของดายโดยปราศจากการยืดของแผ่นโลหะ ดังนั้นช่องว่างระหว่างพั้นซ์และดายจะเท่ากับความหนาของแผ่นโลหะ
5. Embossing เป็นการขึ้นรูปแผ่นโลหะให้เป็นหลุมหรือปุ่มตื้นๆ โดยที่ความหนาไม่เปลี่ยนแปลง ปรกติทำแผ่นป่ายต่างๆ ที่มีตัวอักษรนูน
6. Coining เป็นการขึ้นรูปแผ่นโลหะให้เป็นลวดโดยการบีบอัดแผ่นโลหะในแม่พิมพ์ปิด ลวดลายทั้งสองด้านจะไม่เหมือนกันก็ได้ เช่น การทำเหรียญ
7. Swaging เป็นการขึ้นรูปโลหะโดยการบีบอัดในแม่พิมพ์เปิด โลหะจะสามารถไหลผ่านแม่พิมพ์ออกมาได้อย่างอิสระ
8. Shaving เป็นการตัดแต่งขอบแผ่นโลหะผ่านการ blanking หรือ piercing มาแล้ว
9. Trimming เป็นการทำงานคล้าย blanking เพื่อตัดโลหะส่วนเกินออก วิธีนี้จะทำทีหลังสุดเมื่อแผ่นโลหะผ่านกรรมวิธีอื่นๆ มาแล้ว
2. Piercing โดยทั่วไปเป็นขั้นตอนที่ต่อจาก blanking โดยจะตัดแผ่นโลหะให้เป็นรูตามตำแหน่งที่ต้องการบางครั้ง blanking และ piercing สามารถทำพร้อมกันได้ในขั้นตอนเดียว ข้อแตกต่างระหว่าง blanking และ piercing จะใช้แผ่นโลหะที่ตัดออกมาด้วยพั้นซ์และดายเป็นชิ้นงาน ส่วน piercing จะใช้แผ่นโลหะที่ถูกตัดเป็นรูเป็นชิ้นงาน
3. Bending เป็นการตัดพื้นผิวระนาบของโลหะทำมุมกันตั้งแต่หนึ่งมุมขึ้นไปโดยความหนาของแผ่นโลหะไม่เปลี่ยนแปลงและรัศมีการดัดจะต้องมากกว่าหรือเท่ากับความหนาของแผ่นโลหะ
4. Drawing เป็นการสาลขึ้นรูปโลหะแผ่นด้วยพั้นซ์เข้าไปในโพรงของดายโดยปราศจากการยืดของแผ่นโลหะ ดังนั้นช่องว่างระหว่างพั้นซ์และดายจะเท่ากับความหนาของแผ่นโลหะ
5. Embossing เป็นการขึ้นรูปแผ่นโลหะให้เป็นหลุมหรือปุ่มตื้นๆ โดยที่ความหนาไม่เปลี่ยนแปลง ปรกติทำแผ่นป่ายต่างๆ ที่มีตัวอักษรนูน
6. Coining เป็นการขึ้นรูปแผ่นโลหะให้เป็นลวดโดยการบีบอัดแผ่นโลหะในแม่พิมพ์ปิด ลวดลายทั้งสองด้านจะไม่เหมือนกันก็ได้ เช่น การทำเหรียญ
7. Swaging เป็นการขึ้นรูปโลหะโดยการบีบอัดในแม่พิมพ์เปิด โลหะจะสามารถไหลผ่านแม่พิมพ์ออกมาได้อย่างอิสระ
8. Shaving เป็นการตัดแต่งขอบแผ่นโลหะผ่านการ blanking หรือ piercing มาแล้ว
9. Trimming เป็นการทำงานคล้าย blanking เพื่อตัดโลหะส่วนเกินออก วิธีนี้จะทำทีหลังสุดเมื่อแผ่นโลหะผ่านกรรมวิธีอื่นๆ มาแล้ว
วิธีการใช้เทคนิคแบบพื้นบ้านในการ ทำแม่พิมพ์ หล่ออลูมิเนียม | DIY Molding
Posted by Ok-Workshop
Posted on 03:10
แสดงให้อีกหนึ่งวิถีชีวิตของคนในชุมชน ชาวพื้นเมืองที่นำเอาเทคโนโลยีการทำแม่พิมพ์สำหรับหล่ออลูมิเนียม ด้วยวิธีการที่ดูไม่ยากมากนัก เป็นรูปแบบที่เรียบง่าย ไม่ว่าจะเป็นการออกแบบและสร้างแม่พิมพ์หล่อทรายจากวัสดุที่หาได้ใกล้ตัว รวมถึงขั้นตอนในการหลอมจากเศษอลูมิเนียม ด้วยความร้อนจนกลายเป็นของเหลวโลหะที่อุณหภูมิสูงเหมาะสม เพื่อนำมาหล่อโดยจะเทลงบนแม่พิมพ์ที่ทำขึ้น จากนั้นก็รอจนน้ำอลูมิเนียมที่เหลวก่อนหน้านี้เกิดการเปลี่ยนสถานะกลายของแข็ง คงรูปทรงตามแม่แบบของภาชนะที่กำหนดไว้ในที่สุด ซึ่งเทคโนโลยีเหล่าเป็นเสมือนภูมิปัญญาของชาวบ้านที่ทำสืบทอดต่อกันมาจากรุ่นสู่รุ่น
Animation แสดงการประกอบชิ้นส่วนของแม่พิมพ์ฉีดพลาสติก แบบThree Plate Mould
Posted by Ok-Workshop
Posted on 07:44
Mould Industry Category | หมวดแม่พิมพ์อุตสาหกรรม
- 3 Plates
- การฉีดพลาสติก
- การทำแม่พิมพ์
- การออกแบบ
- ของเล่น
- ข้อมูลแม่พิมพ์
- คลิปแม่พิมพ์
- เครื่องฉีดพลาสติก
- เครื่องฉีดพลาสติกขนาดกลาง
- เครื่องฉีดพลาสติกขนาดเล็ก
- เครื่องปั๊มโลหะ
- แคดแคม
- ชนิดแม่พิมพ์
- ชิ้นส่วนแม่พิมพ์
- เทคโนโลยี
- ประเภทแม่พิมพ์
- โปรแกรมแม่พิมพ์
- ผลิตภัณฑ์
- แม่พิมพ์ฉีด
- แม่พิมพ์ฉีดพลาสติก
- แม่พิมพ์ฉีดอุตสาหกรรม
- แม่พิมพ์ซิลิโคน
- แม่พิมพ์ดูด
- แม่พิมพ์ตัด
- แม่พิมพ์ปั๊ม
- แม่พิมพ์ปูนปลาสเตอร์
- แม่พิมพ์เป่าพลาสติก
- แม่พิมพ์พลาสติก
- แม่พิมพ์โลหะ
- แม่พิมพ์แวกคัม
- แม่พิมพ์สูญญากาศ
- แม่พิมพ์หล่อ
- แม่พิมพ์หล่อทราย
- แม่พิมพ์หล่อเรซิ่น
- แม่พิมพ์อุตสาหกรรม
- ระบบแม่พิมพ์
- เลโก้
- แวกคัมโมล
- สร้างแม่พิมพ์ฉีดพลาสติก
- หลอมโลหะ
- หล่อโลหะ
- หล่ออลูมิเนียม
- หลักการ
- ออกแบบแม่พิมพ์
- อุปกรณ์เสริม
- Aluminium
- blow molding
- CADCAM
- casting mold
- casting molds
- die cutting
- DIY Mold
- FlexFoam
- injection mold
- injection molds
- Inserts
- Misumi
- mold design
- plaster casting molds
- Plaster Mold
- Plastic Injection Mold
- Plastic Mold
- Plastic Mold Components
- Resin Molds
- sand casting mold
- Silicone Casting
- Silicone Molds
- stamping molds
- Three Plate Mould
- Vacuum Forming
- vacuum mold