Mold Article Integrated content and knowledge about mold industry.
วิธีการผลิตสินค้าและผลิตภัณฑ์ที่มาจากการใช้แม่พิมพ์ฉีดพลาสติกในระบบอุตสาหกรรมเครื่องฉีดพลาสติก
Posted by Ok-Workshop
Posted on 18:41
การออกแบบแม่พิมพ์ฉีดพลาสติกสำหรับกระบวนการ in-mold labeling
Posted by Ok-Workshop
Posted on 04:29
กระบวนการ in-mold labeling เป็นการตกแต่งผิวชิ้นงานพลาสติกในระหว่างกระบวนการผลิต โดย
แผ่นฟิล์มลวดลายจะถูกนำเข้าไปติดที่ผนังด้านในของคาวิตี้แล้วจึงทำการฉีดขึ้นรูปชิ้นงานพลาสติก ซึ่งชิ้นงานที่ได้จะมีผิวที่สวยงาม ลวดลายคงทน ไม่หลุดลอก เนื่องจากแผ่นฟิล์มลวดลายถูกหลอมรวมเป็นเนื้อเดียวกันกับชิ้นงานพลาสติก อย่างไรก็ตามค่าใช้จ่ายสำหรับการตกแต่งผิวชิ้นงานด้วยกระบวนการ in-mold labeling ยังค่อนข้างสูงเมื่อเปรียบเทียบกับวิธีอื่นๆ อาทิเช่น hot stamping หรือ printing เนื่องจากแม่พิมพ์ฉีดพลาสติกที่ใช้สำหรับขึ้นรูปชิ้นงานต้องถูกออกแบบมาเฉพาะสำหรับกระบวนการตกแต่งผิวชิ้นงานแบบ in-mold labeling และต้องมีการเชื่อมต่อเข้ากับระบบสุญญากาศหรือใช้งานร่วมกับอุปกรณ์กำเนิดกระแสไฟฟ้าสถิตย์ เพื่อทำให้แผ่นฟิล์มลวดลายสามารถยึดติดกับผนังแม่พิมพ์ด้านในในตำแหน่งที่ต้องการได้ อีกทั้งในการนำแผ่นฟิล์มลวดลายเข้าไปติดที่ผนังด้านในของแม่พิมพ์ยังต้องอาศัยอุปกรณ์เสริมที่ทำงานแบบอัตโนมัติเพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการผลิตอีกด้วย โดยส่วนใหญ่แม่พิมพ์และอุปกรณ์เสริมต่างๆ จะถูกนำเข้าจากต่างประเทศ ซึ่งมีราคาค่อนข้างสูง ทำให้ไม่คุ้มกับการลงทุนสำหรับผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดเล็กดังนั้นผู้วิจัยจึงมีแนวคิดที่จะออกแบบและสร้างแม่พิมพ์ฉีดพลาสติกสำหรับกระบวนการ in-mold labeling ในเบื้องต้น เพื่อลดการนำเข้าและตอบสนองความต้องการของผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดเล็ก ในการปรับปรุงประสิทธิภาพในกระบวนการผลิตต่อไป ชิ้นงานที่ใช้ในการศึกษาคือ ฝากลมมีเกลียวด้านใน ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางภายนอก 102.8 มม. ความหนาสม่ำเสมอ 1.4 มม. ฉีดขึ้นรูปด้วยวัสดุโพลีโพรพิลีน (PP 2300NC)แผ่นฟิล์มลวดลายที่ใช้ทำจากโพลีเอทิลีน (PE) มีความหนา 82 ไมครอน แม่พิมพ์ที่ได้ออกแบบและสร้างเป็นแบบ 2 แผ่น ชนิดรูวิ่งร้อน จำนวน 1 คาวิตี้ ใช้แผ่นปลดเป็นตัวดันปลดชิ้นงาน จากผลการทดสอบแม่พิมพ์พบว่า
แม่พิมพ์ทำงานได้ดี ชิ้นงานพลาสติกที่ได้ไม่มีข้อบกพร่องใดๆอันเนื่องมาจากแม่พิมพ์ฉีดพลาสติก และแม่พิมพ์ที่ผ่านการทดสอบแล้วนี้จะถูกนำไปใช้ในการศึกษาเกี่ยวกับปัจจัยต่างๆที่มีผลต่อกระบวนการ in-mold labeling อาทิเช่น ตัวแปรในการฉีดขึ้นรูป ชนิดและความหนาของแผ่นฟิล์มลวดลาย รวมถึงการออกแบบและสร้างชุดอุปกรณ์เสริมที่จำเป็นสำหรับกระบวนการ in-mold labeling เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตต่อไป
แผ่นฟิล์มลวดลายจะถูกนำเข้าไปติดที่ผนังด้านในของคาวิตี้แล้วจึงทำการฉีดขึ้นรูปชิ้นงานพลาสติก ซึ่งชิ้นงานที่ได้จะมีผิวที่สวยงาม ลวดลายคงทน ไม่หลุดลอก เนื่องจากแผ่นฟิล์มลวดลายถูกหลอมรวมเป็นเนื้อเดียวกันกับชิ้นงานพลาสติก อย่างไรก็ตามค่าใช้จ่ายสำหรับการตกแต่งผิวชิ้นงานด้วยกระบวนการ in-mold labeling ยังค่อนข้างสูงเมื่อเปรียบเทียบกับวิธีอื่นๆ อาทิเช่น hot stamping หรือ printing เนื่องจากแม่พิมพ์ฉีดพลาสติกที่ใช้สำหรับขึ้นรูปชิ้นงานต้องถูกออกแบบมาเฉพาะสำหรับกระบวนการตกแต่งผิวชิ้นงานแบบ in-mold labeling และต้องมีการเชื่อมต่อเข้ากับระบบสุญญากาศหรือใช้งานร่วมกับอุปกรณ์กำเนิดกระแสไฟฟ้าสถิตย์ เพื่อทำให้แผ่นฟิล์มลวดลายสามารถยึดติดกับผนังแม่พิมพ์ด้านในในตำแหน่งที่ต้องการได้ อีกทั้งในการนำแผ่นฟิล์มลวดลายเข้าไปติดที่ผนังด้านในของแม่พิมพ์ยังต้องอาศัยอุปกรณ์เสริมที่ทำงานแบบอัตโนมัติเพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการผลิตอีกด้วย โดยส่วนใหญ่แม่พิมพ์และอุปกรณ์เสริมต่างๆ จะถูกนำเข้าจากต่างประเทศ ซึ่งมีราคาค่อนข้างสูง ทำให้ไม่คุ้มกับการลงทุนสำหรับผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดเล็กดังนั้นผู้วิจัยจึงมีแนวคิดที่จะออกแบบและสร้างแม่พิมพ์ฉีดพลาสติกสำหรับกระบวนการ in-mold labeling ในเบื้องต้น เพื่อลดการนำเข้าและตอบสนองความต้องการของผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดเล็ก ในการปรับปรุงประสิทธิภาพในกระบวนการผลิตต่อไป ชิ้นงานที่ใช้ในการศึกษาคือ ฝากลมมีเกลียวด้านใน ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางภายนอก 102.8 มม. ความหนาสม่ำเสมอ 1.4 มม. ฉีดขึ้นรูปด้วยวัสดุโพลีโพรพิลีน (PP 2300NC)แผ่นฟิล์มลวดลายที่ใช้ทำจากโพลีเอทิลีน (PE) มีความหนา 82 ไมครอน แม่พิมพ์ที่ได้ออกแบบและสร้างเป็นแบบ 2 แผ่น ชนิดรูวิ่งร้อน จำนวน 1 คาวิตี้ ใช้แผ่นปลดเป็นตัวดันปลดชิ้นงาน จากผลการทดสอบแม่พิมพ์พบว่า
แม่พิมพ์ทำงานได้ดี ชิ้นงานพลาสติกที่ได้ไม่มีข้อบกพร่องใดๆอันเนื่องมาจากแม่พิมพ์ฉีดพลาสติก และแม่พิมพ์ที่ผ่านการทดสอบแล้วนี้จะถูกนำไปใช้ในการศึกษาเกี่ยวกับปัจจัยต่างๆที่มีผลต่อกระบวนการ in-mold labeling อาทิเช่น ตัวแปรในการฉีดขึ้นรูป ชนิดและความหนาของแผ่นฟิล์มลวดลาย รวมถึงการออกแบบและสร้างชุดอุปกรณ์เสริมที่จำเป็นสำหรับกระบวนการ in-mold labeling เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตต่อไป
เทคโนโลยีแม่พิมพ์อุตสาหกรรม
Posted by Ok-Workshop
Posted on 09:27
ในการผลิตสินค้าที่ต้องการขนาด
รูปร่าง คุณภาพและความเที่ยงตรง หัวใจของกระบวนการผลิตคือ เครื่องมือที่เรียกว่า “แม่พิมพ์” ซึ่งมีอยู่ด้วยกันหลากหลายชนิดขึ้นอยู่กับวัสดุที่ต้องการผลิตเป็นสินค้า
ดังนั้นในบทนี้จะขอกล่าวถึงลักษณะของแม่พิมพ์
กระบวนการสร้างแม่พิมพ์เพื่อให้เกิดภาพที่ชัดเจนยิ่งขึ้น
Mould Industry Category | หมวดแม่พิมพ์อุตสาหกรรม
- 3 Plates
- การฉีดพลาสติก
- การทำแม่พิมพ์
- การออกแบบ
- ของเล่น
- ข้อมูลแม่พิมพ์
- คลิปแม่พิมพ์
- เครื่องฉีดพลาสติก
- เครื่องฉีดพลาสติกขนาดกลาง
- เครื่องฉีดพลาสติกขนาดเล็ก
- เครื่องปั๊มโลหะ
- แคดแคม
- ชนิดแม่พิมพ์
- ชิ้นส่วนแม่พิมพ์
- เทคโนโลยี
- ประเภทแม่พิมพ์
- โปรแกรมแม่พิมพ์
- ผลิตภัณฑ์
- แม่พิมพ์ฉีด
- แม่พิมพ์ฉีดพลาสติก
- แม่พิมพ์ฉีดอุตสาหกรรม
- แม่พิมพ์ซิลิโคน
- แม่พิมพ์ดูด
- แม่พิมพ์ตัด
- แม่พิมพ์ปั๊ม
- แม่พิมพ์ปูนปลาสเตอร์
- แม่พิมพ์เป่าพลาสติก
- แม่พิมพ์พลาสติก
- แม่พิมพ์โลหะ
- แม่พิมพ์แวกคัม
- แม่พิมพ์สูญญากาศ
- แม่พิมพ์หล่อ
- แม่พิมพ์หล่อทราย
- แม่พิมพ์หล่อเรซิ่น
- แม่พิมพ์อุตสาหกรรม
- ระบบแม่พิมพ์
- เลโก้
- แวกคัมโมล
- สร้างแม่พิมพ์ฉีดพลาสติก
- หลอมโลหะ
- หล่อโลหะ
- หล่ออลูมิเนียม
- หลักการ
- ออกแบบแม่พิมพ์
- อุปกรณ์เสริม
- Aluminium
- blow molding
- CADCAM
- casting mold
- casting molds
- die cutting
- DIY Mold
- FlexFoam
- injection mold
- injection molds
- Inserts
- Misumi
- mold design
- plaster casting molds
- Plaster Mold
- Plastic Injection Mold
- Plastic Mold
- Plastic Mold Components
- Resin Molds
- sand casting mold
- Silicone Casting
- Silicone Molds
- stamping molds
- Three Plate Mould
- Vacuum Forming
- vacuum mold